ผู้ช่วยศาสตรจารย์ ดร.ถิรพร แสงพิรุณ

ผู้ช่วยศาสตรจารย์ ดร.ถิรพร แสงพิรุณ
(Assistant Professor Dr.Thiraporn Sangpiroon)

ตำแหน่ง

อาจารย์ประจำหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการท่องเที่ยว
โรงเรียนการท่องเที่ยวและการบริการ

วุฒิการศึกษา

ปริญญาตรี

ศศ.บ.(อุตสาหกรรมท่องเที่ยว)
ศิลปศาสตรบัณฑิต (อุตสาหกรรมท่องเที่ยว)
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต

ปริญญาโท

วท.ม.(จิตวิทยาอุตสาหกรรม)
วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (จิตวิทยาอุตสาหกรรม)
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

ปริญญาเอก

ปร.ด.(การกีฬา นันทนาการและการท่องเที่ยว)
ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (การกีฬา นันทนาการและการท่องเที่ยว)
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

วิชาที่เชี่ยวชาญ

1. การอนุรักษและพัฒนาทรัพยากรทางการท่องเที่ยว
2. จิตวิทยาบริการในอุตสาหกรรมท่องเที่ยว
3. การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ในอุตสาหกรรมท่องเที่ยว
4. การวิจัยสำหรับการท่องเที่ยว
5. นันทนาการเพื่อการท่องเที่ยว
6. การท่องเที่ยวเชิงชาติพันธุ์
7. การท่องเที่ยวเชิงนิเวศ
8. การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมการท่องเที่ยวเชิงชาติพันธุ์ นันทนาการเพื่อการท่องเที่ยว
9. การท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ
10. จิตวิทยาการบริการ และระเบียบวิธีวิจัยทางสังคมศาสตร์

ผลงานวิชาการ

เอกสารประกอบการสอน/ตำรา (ระบุปีที่พิมพ์ล่าสุด : ชื่อเอกสาร)

ปี พ.ศ. 2563

เอกสารประกอบการสอนวิชาจิตวิทยาบริการในอุตสาหกรรมท่องเที่ยว. กรุงเทพฯ: ศูนย์บริการและสิ่งพิมพ์กราฟฟิคไซท์.
เอกสารประกอบการสอแบบเย็บมุมวิชาการท่องเที่ยวเชิงชาติพันธุ์. กรุงเทพฯ: ศูนย์บริการและสิ่งพิมพ์กราฟฟิคไซท์.

ปี พ.ศ. 2562

เอกสารประกอบการสอนแบบเย็บมุมวิชานันทนาการเพื่อการท่องเที่ยว. กรุงเทพฯ: ศูนย์บริการและสิ่งพิมพ์กราฟฟิคไซท์.

ปี พ.ศ. 2560

ตำราวิชาการอนุรักษ์และการพัฒนาทรัพยากรทางการท่องเที่ยว.กรุงเทพฯ: ศูนย์บริการและสิ่งพิมพ์กราฟฟิคไซท์

งานวิจัย

ปี พ.ศ. 2563

– งานวิจัยเรื่อง การพัฒนารูปแบบกิจกรรมการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์เพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวในชุมชนคลองรางจระเข้ อำเภอเสนา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา. กรุงเทพฯ: รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์. สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.)
– งานวิจัยเรื่อง การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วมกับภาคีเครือข่ายในการส่งเสริมการตลาดการท่องเที่ยว. กรุงเทพฯ: รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์. สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.)
– งานวิจัยเรื่อง การศึกษาและพัฒนาผลิตภัณฑ์ของที่ระลึกจากใบเตยเพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวชุมชนคลองรางจระเข้. กรุงเทพฯ: รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์. สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.)

ปี พ.ศ. 2562

– งานวิจัยเรื่อง การมีส่วนร่วมของชุมชนในการพัฒนา  การท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนด้วย “ข้าวไร่กะเหรี่ยง” อำเภอด่านช้าง จังหวัดสุพรรณบุรี. กรุงเทพฯ: รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์. สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย – มหาวิทยาลัยสวนดุสิต (สกว.-มสด.).

ปี พ.ศ. 2560

– งานวิจัยเรื่อง แนวทางการเพิ่มศักยภาพของแหล่งท่องเที่ยวและการพัฒนาการจัดการโลจิสติกส์ด้านการท่องเที่ยวของแหล่งท่องเที่ยวจังหวัดนครปฐม. กรุงเทพฯ: รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์. สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.)

บทความทางวิชาการ/บทความวิจัย

ปี พ.ศ. 2565

บทความวิจัยเรื่อง  การศึกษากิจกรรม  การท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์เพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวในชุมชนคลองรางจระเข้ อำเภอเสนา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา. มนุษยศาสตร์วิชาการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. 29(1), (มกราคม-มิถุนายน 2565).

ปี พ.ศ. 2564

บทความวิจัยเรื่อง  การศึกษาความเป็นไปได้ในการปรับภูมิทัศน์วัฒนธรรมในแหล่งท่องเที่ยววังหลัง. กรุงเทพมหานคร.วารสารเพื่อการพัฒนาการท่องเที่ยวสู่ความยั่งยืน, 3(1), 38-53.
บทความวิจัยเรื่อง  การอนุรักษ์ศิลปหัตถกรรมโลหะขันลงหิน ชุมชนบบ้านบุ เขตบางกอกน้อย กรุงเทพมหานคร เพื่อการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน.วารสารเพื่อพัฒนาการท่องเที่ยวสู่ความยั่งยืน, 3(1), 28-37.
บทความวิจัยเรื่อง  ความพึงพอใจต่อเส้นทางท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมอาหารของชุมชนย่านเยาวราช กรุงเทพมหานคร. วารสารเพื่อพัฒนาการท่องเที่ยวสู่ความยั่งยืน, 3(2), 48-58.

ปี พ.ศ. 2563

บทความวิจัยเรื่อง  Souvenir Product Development to promote Tourism in Klong Rang Chorakhe, Thailand. 14(2), 2020, p. 1228-1244.